Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Home > Articles > พัฒนาทุนมนุษย์ > มิติทางสังคมและการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)) (โพสต์ทูเดย์)

มิติทางสังคมและการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)) (โพสต์ทูเดย์)

พิมพ์ PDF

การเปิดเสรีอาเซียนไม่เพียงก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเฉพาะในมิติทางเศรษฐกิจการค้าเท่านั้น แต่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามมาด้วย การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จึงไม่ควรจากัดอยู่แต่เพียงเรื่องการค้าเพียงอย่างเดียวแต่ต้องให้ความสาคัญกับการเตรียมการและรับมือกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมเช่นกัน

งานวิจัย "Moving Towards ASEAN Single Community : Human Face Nexus of Regional Economic Development" โดยดร.สมชัย จิตสุชน นาเสนอมิติทางสังคมของประชาคมอาเซียน ที่จาเป็นต่อการวางแผนเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงและความหลากหลายของสังคมอาเซียนในอนาคต งานวิจัยนาเสนอ 4 มิติสาคัญ ดังนี้

1. มิติด้านสถิติประชากร (Population Demographic)

ประเทศส่วนใหญ่ในแถบอาเซียนกาลังเผชิญกับอัตราขยายตัวของประชากรที่ต่าลงจากกราฟข้างล่างมีเพียงสิงคโปร์เท่านั้นที่มีอัตราขยายตัวของประชากรเกิน 5% ซึ่งมีสาเหตุมาจากการย้ายถิ่นฐานเป็นหลัก กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่มีอัตราขยายตัวของประชากรต่ากว่า 2% เท่านั้น

นอกจากนี้ ประชาคมอาเซียนกาลังเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัย ซึ่งจะกระทบต่อการพัฒนาสังคมและมนุษย์ต่อไปในอนาคต จากงานวิจัยประเทศที่มีจานวนอัตราประชากรวัยทางานสูงเมื่อเทียบกับประชากรสูงวัยคือ บรูไน กัมพูชา ลาว และฟิลิปปินส์ ซึ่งประเทศเหล่านี้จะสามารถพัฒนาสมรรถภาพด้านการผลิตและเศรษฐกิจจากประชากรวัยทางานได้ในอนาคต

2. มิติด้านสุขภาพ การศึกษา และความสามารถในการอ่านเขียน (Health Education and Literacy)

งานวิจัยพิจารณาตัวบ่งชี้สาคัญสองประการ คือ 1) อัตราการเสียชีวิตของทารกซึ่งเป็นตัวชี้วัดระดับสุขภาพโดยรวมของประเทศในบริบทของประชาคมอาเซียน ประเทศที่ร่ารวยกว่า (เช่น บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์) มีอัตราการเสียชีวิตของทารกน้อยกว่าประเทศที่ยากจนกว่า (เช่น กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น)และ 2) การจ่ายเงินของครัวเรือนเมื่อไปใช้บริการสุขภาพ ซึ่งวัดประสิทธิภาพและการครอบคลุมของประกันสุขภาพ ค่าใช้จ่ายที่น้อยลงแสดงให้เห็นถึงระบบประกันสุขภาพที่ดีกว่าซึ่งข้อมูลจากกราฟข้อมูลแสดงให้เห็นว่าประเทศที่มีฐานะปานกลางและสูง มักจะมีระบบประกันสุขภาพที่ดีกว่าประเทศที่ยากจน(กัมพูชา พม่า และเวียดนาม)

มิติด้านการศึกษา

ประเทศในแถบอาเซียนมีความแตกต่างกันอย่างมากในเรื่องการศึกษาประเทศที่มีรายได้สูงกว่า มีการสมัครเข้าเรียนในระดับอนุบาลและอุดมศึกษามากกว่า แต่เมื่อเราเปรียบเทียบดูแล้ว แถบประเทศอาเซียนยังมีนักศึกษาเรียนในระดับอุดมศึกษาน้อยกว่าประเทศอย่างญี่ปุุนเกาหลีใต้และสหรัฐอยู่มาก

3. มิติด้านการจ้างงาน ความยากจนและความเหลื่อมล้า(Employment, Poverty and Inequality)

มิติทางด้านการจ้างงานเป็นมิติที่น่าสนใจมากในประชาคมอาเซียน โดยรวมแล้วประเทศในแถบนี้มีอัตราการว่างงานต่า (ยกเว้นอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์) แต่อัตราการจ้างงานในวัยรุ่นมีต่ากว่าประเทศที่พัฒนาแล้วอยู่มาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีความต้องการแรงงานอยู่สูงแต่วัยรุ่นในอาเซียนไม่สามารถสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานได้

ในขณะเดียวกันประชากรที่มีการศึกษาสูงในประเทศที่ยากจน (ลาว กัมพูชา เวียดนาม) จะเดินทางไปทางานนอกประเทศบ้านเกิดตนเอง แต่สถานการณ์นี้เริ่มดีขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจภายในประเทศเหล่านี้ดีขึ้นมาก และทาให้ประชากรของประเทศเหล่านี้เลือกที่จะอยู่ทางานในประเทศบ้านเกิดมากขึ้น

ในเรื่องของมิติความยากจนและความเหลื่อมล้างานวิจัยได้วัดความเหลื่อมล้าจากอัตรารายได้ครอบครัวของผู้มีฐานะร่ารวยที่สุด 10% เทียบกับรายได้ของคนที่ยากจนที่สุด10% สิ่งนี้ทาให้เห็นว่า อาเซียนยังเป็นภูมิภาคที่มีความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจสูงมาก(โดยเฉพาะในประเทศไทยและฟิลิปปินส์) ในขณะที่ความยากจนอาจจะลดระดับลงไปในภูมิภาคความเหลื่อมล้าอาจจะเพิ่มสูงขึ้นได้

4.มิติด้านสังคมอื่นๆ(สิ่งแวดล้อมและสถาบันทางการเมือง)

มิติด้านสิ่งแวดล้อม

งานวิจัยใช้ตัวบ่งชี้สองประการเพื่อเปรียบเทียบมิติด้านสิ่งแวดล้อมของประชาคมอาเซียนคือ 1) การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ2) สัดส่วนพื้นที่ปุาในประเทศ ซึ่งประเทศที่ร่ารวยกว่าในอาเซียนมีสถิติทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่สู้ดีนัก สิงคโปร์และบรูไนมีอัตราการปล่อยก๊าซ CO2 สูงกว่าประเทศอื่นๆและมีพื้นที่สัดส่วนของปุาในประเทศน้อยมาก

มิติด้านสถาบันการเมือง

งานวิจัยวิเคราะห์ตัวบ่งชี้สองประการ คือ1) สิทธิทางกฎหมาย และ 2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้หญิงเป็นที่น่าสนใจที่ประเทศเวียดนาม ลาว และสิงคโปร์ มีอัตราส่วนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นสตรีอยู่ถึงร้อยละ 25 ซึ่งตัวเลขนี้สูงกว่าประเทศญี่ปุุนสหรัฐและเกาหลีใต้ แต่ในเรื่องของสิทธิทางกฎหมาย มีเพียงประเทศสิงคโปร์และมาเลเซียที่ทาได้ดีกว่าประเทศพัฒนาแล้ว แต่ประเทศอื่นๆในอาเซียนยังทาได้ไม่ดีนัก

เมื่อเราพิจารณาตามมิติต่างๆทางสังคมของกลุ่มประเทศอาเซียน เราจะเห็นได้ว่าการพัฒนาทางเศรษฐกิจอาจจะส่งผลกระทบในทางบวกแก่มิติด้านสุขภาพ การศึกษา และความยากจน แต่สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของประชาคมอาเซียน เพราะเมื่อเทียบถึงการจ้างงานในวัยรุ่น ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรี หรือมิติทางสิ่งแวดล้อม การพัฒนาทางเศรษฐกิจไม่ได้ก่อให้เกิดผลในทางบวกต่อประเทศในกลุ่มอาเซียนเสมอไป และปัจจัยหลักสาคัญที่จะทาให้เกิดความแตกต่างสูงในประชาคมอาเซียน คือ อายุของประชากรในประเทศต่างๆ ซึ่งจะมีผลต่อเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประชาคมอาเซียนในอนาคตต่อไป

ความแตกต่างของมิติที่หลากหลาย ควรได้รับความสนใจจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาของเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของภูมิภาค ควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมที่เท่าเทียมและเปิดโอกาสให้กับทุกคนได้เข้าถึงประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

2. ติวเข้มบุคลากร รักษาแชมป์สหกรณ์อาเซียน (เดลินิวส์)

นายจิตรกร สามประดิษฐ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ เปิดเผยถึงความพร้อมของขบวนการสหกรณ์ในประเทศไทยก่อนจะก้าวสู่การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในวันที่ 1 มกราคม 2558 ว่า ณ วันนี้ยังมีเวลาในการเตรียมความพร้อมอีกสองปีเศษ ซึ่งเมื่อมีการเปิด AEC จะส่งผลให้ภูมิภาคอาเซียนกลายเป็นกลุ่มเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ที่มีฐานการผลิตรวมกัน มีการเคลื่อนย้ายปัจจัยทางการผลิตอย่างเสรี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านแรงงาน มีเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรี และประชากรแต่ละประเทศสามารถสมัครใจที่จะไปทางานในประเทศใดก็ได้ ด้านเงินทุน จะมีนักลงทุนจากประเทศอาเซียนนาเงินทุนมูลค่ามหาศาลไปลงทุนในประเทศต่าง ๆ ภายในกลุ่มอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย และด้านสินค้า จะมีการลดภาษีสินค้าต่างๆ ลงให้เป็น 0%

การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะส่งผลไปทั่วทุกภาคส่วนของประเทศ ไม่เว้นแม้แต่ในขบวนการสหกรณ์ ซึ่งจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงที่กาลังจะเกิดขึ้น และหาทางปูองกันผลกระทบจากสถานการณ์ที่เป็นวิกฤติต่อการดาเนินงานของสหกรณ์ได้ อย่างไรก็ตาม AEC ยังเป็นโอกาสที่ดีสาหรับสหกรณ์นอกภาคการเกษตรในการขยายธุรกิจ เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีเงินออมมากสามารถนาเงินไปลงทุนได้มากขึ้น สหกรณ์บริการ เช่น สหกรณ์เดินรถสามารถขยายบริการด้านการท่องเที่ยว เดินทางข้ามไปประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนและพัฒนาการให้บริการที่ครบวงจร แต่สาหรับสหกรณ์ภาคการเกษตร จะต้องเปลี่ยนแปลงการดาเนินการด้านการผลิตจากการดาเนินธุรกิจแบบเดิม ๆ ที่มีแค่การรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกแล้วส่งขายให้บริษัทเอกชนหรือพ่อค้า ก็จะต้องปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้สามารถดารงอยู่ได้เมื่อมีการเปิดการค้าเสรีอาเซียน โดยเฉพาะสหกรณ์การเกษตรที่อยู่ในจังหวัดที่ติดชายแดนระหว่างประเทศ จะต้องเตรียมรับมือกับผลผลิตทางการเกษตรที่จะทะลักเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งพม่า กัมพูชา หรือลาว ที่มีเปูาหมายเพื่อการแปรรูป เพื่อเพิ่มมูลค่าเช่น จากข้าวเปลือกมาเข้าโรงสีให้เป็นข้าวสารหรือแปูง ส่วนข้าวที่คุณภาพไม่ดีทาเป็นข้าวนึ่ง ประเภทถั่วก็นามาแปรรูปเป็นน้ามันพืช ข้าวโพดนามาใส่ปลาปุนและราข้าว กลายเป็นอาหารสัตว์ แล้วบรรจุลงหีบห่อที่ได้มาตรฐาน เพื่อยกระดับราคาให้กับสินค้า ก่อนจะส่งไปจาหน่ายได้ในทุกประเทศของอาเซียน

ดังนั้น สหกรณ์ไทยต้องดาเนินการเพื่อการรองรับโอกาส ต้องทาความเข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในประเทศอาเซียน ต้องมองทุกประเทศอย่างเป็นมิตร ยึดหลักความร่วมมือที่มีความยุติธรรมและเกิดประโยชน์กับทุกฝุาย ส่วนการสร้างเครือข่ายสหกรณ์ในอาเซียนนั้นจะแบ่งเป็น 2 ด้านด้วยกันคือ ด้านวิชาการ โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ จะให้ข้อมูลและความรู้ด้านสหกรณ์แก่ประเทศในภูมิภาคอาเซียน พัฒนาแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน ส่วนในด้านธุรกิจ ก็จะมีการนาผู้แทนสหกรณ์ของไทยเดินทางไปเรียนรู้ด้านการตลาดในประเทศต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อให้ได้รับทราบว่าตลาดเหล่านั้นมีความต้องการสินค้าประเภทใด บรรจุภัณฑ์แบบไหน ปริมาณความต้องการจานวนเท่าใด เพื่อนามาปรับปรุงการผลิตสินค้าก่อนส่งไปขายให้กับประเทศเพื่อนบ้าน ขณะเดียวกัน ด้านภาษาก็มีส่วนสาคัญ ปัจจุบันทางกรมฯ ได้เปิดสอนภาษาอังกฤษ จีน เวียดนาม และพม่า ให้กับข้าราชการในสังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในช่วงวันหยุดราชการคือวันเสาร์และอาทิตย์ เพื่อให้รู้และเข้าใจภาษา และวัฒนธรรมของประเทศในอาเซียนได้มากยิ่งขึ้น เพื่อการสื่อสารที่มีคุณภาพ และสามารถนาไปปรับใช้กับการทางานติดต่อประสานงานกับต่างประเทศ และในอนาคตจะมีการอบรมให้กับสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้และความเข้าใจในด้านภาษาของประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ทั้งนี้คาดหวังว่าสหกรณ์ไทยจะสามารถก้าวสู่การเป็นผู้นาและเป็นที่พึ่งของขบวนสหกรณ์ในประเทศอาเซียนได้ในที่สุด

 
Home > Articles > พัฒนาทุนมนุษย์ > มิติทางสังคมและการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (มูลนิธิสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)) (โพสต์ทูเดย์)

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5605
Content : 3047
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8598450

facebook

Twitter


บทความเก่า