Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Home > Articles > การศึกษา > การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Democratic Citizenship Education-DCE)

การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Democratic Citizenship Education-DCE)

พิมพ์ PDF

การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Democratic Citizenship Education-DCE) หมายถึง การพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความรู้ดี มีความรับผิดชอบ มีคุณลักษณะ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ในฐานะที่เป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีประชาชนเป็นเจ้าของอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ

พลเมือง มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในกระบวนการประชาธิปไตย โดยเฉพาะในการปรึกษาหารือ ถกเถียงประเด็นสาธารณะที่สาคัญ ๆ กับทุกภาคส่วนของสังคม กระทั่งนาไปสู่การตัดสินใจที่เห็นพ้องร่วมกัน โดยมีเป้าหมายที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และเปิดโอกาสให้ พลเมืองมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน

ด้วยความเชื่อที่ว่าปัจจัยที่สาคัญที่สุดของความสาเร็จของประชาธิปไตย คือการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (Democratic Citizenship Education) เพราะไม่มี ผู้ใดรู้และเข้าใจเรื่องประชาธิปไตยมาตั้งแต่กาเนิดประชาธิปไตยต้องพัฒนาสมาชิกของสังคม ให้มีความรู้ความเข้าใจ กระทั่งเกิดสานึกเห็นคุณค่ามีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องต่อแนวทางประชาธิปไตย คิดอย่างมีวิจารณญาณโดยปราศจาก การครอบงามีคุณลักษณะและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมที่เห็นคุณค่าในความเป็นมนุษย์อย่างมีศักดิ์ศรีเสมอกันและรักในความยุติธรรม ทั้งนี้เพื่อสร้าง"สังคมไทยที่พลเมือง มีความรู้เท่าทันใช้สิทธิเสรีภาพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมทางการเมือง มีวัฒนธรรม และวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย"

Democratic Citizenship Education เริ่มตั้งแต่เด็ก และดาเนินต่อไปไม่สิ้นสุดจนกระทั่งถึงระดับอุดมศึกษา และเข้าสู่ วัยทางาน

 Democratic Citizenship Education ส่งเสริมเสรีภาพและทักษะการคิด และการแสดงออกมากกว่าการทาตามในแบบการศึกษาระบบเดิม

 Democratic Citizenship Education ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน คือ การเคารพคุณค่าของความเป็นมนุษย์เสมอกัน เคารพความแตกต่างและความยุติธรรม

 Democratic Citizenship Education ส่งเสริมการเรียนรู้ทางการเมือง (Political Education) เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมือง มากกว่าการเรียนรู้จากการรับรู้แต่ขาดประสบการณ์ และเพื่อไม่ให้การใช้อานาจทางการเมืองถูกผูกขาดอยู่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยเฉพาะนักการเมืองและข้าราชการ

 Democratic Citizenship Education ต้องการสื่อที่มีพลัง มีอิสระในการขับเคลื่อนการสร้างพลเมืองใหม่ของประเทศ

 Democratic Citizenship Education ต้องได้รับการสนับสนุนทั้งระบบของสังคม จึงจะ เปลี่ยนบทบาทของประชาชน จากการเป็นผู้ที่อยู่ภายใต้การปกครอง (subject)ให้เป็นพลเมือง (citizen)ที่รับผิดชอบต่อประเทศได้ กล่าวคือ เป็นพลเมืองมีบทบาทเชิงรุกในการกาหนดทิศทางอนาคตของสังคมและมีพลังในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายร่วมกัน การสร้างพลเมืองใหม่ให้มีทั้งพลังความรู้ และมีพลังทางการเมือง หรือเจตจานงทางการเมือง (Political will) จึงเป็นหน้าที่สาคัญและเป็นความรับผิดชอบของรัฐบาล สถาบัน หน่วยงาน และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับอานาจรัฐ ที่แสดงความมุ่งมั่นในการสร้างพลเมือใหม่ของประเทศ

 

 
Home > Articles > การศึกษา > การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (Democratic Citizenship Education-DCE)

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5614
Content : 3057
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8651698

facebook

Twitter


บทความเก่า