Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Home > Articles > การศึกษา > กระบวนการออกกฎหมายนิรโทษกรรม ความเห็นของอดีตผู้พิพากษาศาลฎีกา

กระบวนการออกกฎหมายนิรโทษกรรม ความเห็นของอดีตผู้พิพากษาศาลฎีกา

พิมพ์ PDF
ขอยืนยันว่า ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ฉบับนี้ ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 มาตรา 122 มาตรา 142 และมาตรา 197

กระบวนการออกกฎหมายนิรโทษกรรม ความเห็นของอดีตผู้พิพากษาศาลฎีกา

มีคนส่งต่อ อี-เมล์ มีข้อความดังต่อไปนี้

.....ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ผ่านการพิจารณาวาระที่สามจากสภาผู้แทนราษฎรไปเรียบร้อยแล้ว ตามความต้องการของทักษิณ ชินวัตร เจ้าของพรรคเพื่อไทย

.....กระบวนการตามรัฐธรรมนูญ ก็ต้องส่ง ร่าง พรบ ฉบับนี้ ไปให้วุฒิสภาพิจารณา ถ้าวุฒิสภาเห็นชอบก็ถือว่า ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา แต่ถ้าไม่เห็นชอบก็ต้องส่งคืนสภาผู้แทนราษฎร และต้องทั้งสองสภาตั้งกรรมาธิการร่วมกันพิจารณา แล้วเสนอต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองเห็นชอบก็ส่งให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อม ฯลฯ แต่ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบก็ให้ยับยั้งไว้ก่อน ทั้งนี้ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 147

 

.....ขอยืนยันว่า ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ฉบับนี้ ตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือขัดหรือแย้งต่อบทบัญญัติต่อรัฐธรรมนูญ มาตรา 3 มาตรา 122 มาตรา 142 และมาตรา 197

 

.....ดังนั้นเมื่อร่าง พรบ ฉบับนี้ ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา ส.ส. ส.ว. หรือสมาชิกของทั้งสองสภามีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกที่มีอยู่ มีสิทธิเสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทน ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา ว่า ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ฉบับนี้ มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ส่งไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 154 วรรคหนึ่ง(1)

.....ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ฉบับนี้ มีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ ร่าง พรบ ฉบับนี้เป็นอันตกไป ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 154 วรรคสาม ซึ่งก็หมายจะไม่มีผลที่ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้

 

...........ขอให้ใจเย็น ๆ ไม่ต้องวิตกกังวลจนเกินเหตุ ในความเป็นนักกฎหมายค่อนข้างเชื่อมั่นว่า ร่าง พรบ นิรโทษกรรม ฉบับนี้ยากที่จะมีผลใช้บังคับเป็นกฎหมาย ครับ !

ชูชาติ ศรีแสง

อดีตผู้พิพากษาศาลฎีกา

บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย Prof. Vicharn Panich

แก้ไขล่าสุด ใน วันอังคารที่ 05 พฤศจิกายน 2013 เวลา 10:01 น.  
Home > Articles > การศึกษา > กระบวนการออกกฎหมายนิรโทษกรรม ความเห็นของอดีตผู้พิพากษาศาลฎีกา

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5607
Content : 3052
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8610784

facebook

Twitter


บทความเก่า