Thaiihdc.org

  • เพิ่มขนาดตัวอักษร
  • ขนาดตัวอักษรปกติ
  • สดขนาดตัวอักษร
Thaiihdc.org

Managing Knowledge & Learning in The Modern Organization

พิมพ์ PDF

Part I – How to choose the right learning management

software

By: SoftControl.Net, Ltd.

29 December 2014

A large majority of IT projects fail

There are hundreds of studies analyzing the successes and failures of IT projects, and nearly all of them

show that the vast majority of projects will not meet their objectives and cannot be considered

successful. What’s more, the reasons for these failures are also remarkably familiar, have not changed

over the last decades and cover the usual suspects: insufficient analysis, planning and stakeholder

involvement and communication as well as an inability to bridge the gap between business- , user- and

technical requirements all contribute to poor technical and business performance of IT projects.

Advice and guidance on how to manage IT projects to successful outcomes can be found in many places,

and support from experienced and trusted IT partners should be sought for complex projects or when

internal expertise is not at hand.

Selecting and implementing the right Learning & Knowledge Management software contains some

unique aspects and criteria - in this paper we will look at the most important of these factors.

What you should NOT do when choosing & implementing your Learning &

Knowledge Management software

To preempt the many common mistakes organizations make when selecting and implementing Learning

Management Software (LMS), here are a few tips on what to avoid:

 Don’t consider LMS as an ‘IT Systems Purchase’: Many organizations look primarily at the

technical IT specifications and requirements when selecting the software. While technical criteria

are certainly an important factor, this can be a dangerous distraction from the main reason to

introduce such a system…which is to make the right learning and knowledge easily available at

the right time, and independent of the knowledge that comes and goes with people. As an

organization, you don’t need to be particularly IT savvy, but you need to be exceptionally clear

about your learning and performance outcomes.

 Don’t delegate ‘digging deeper’ to an unqualified person or to the IT department: For the same

reasons explained above, the task to work out the exact requirements of the system should not

left to someone insufficiently qualified for this task, or to an IT person whose focus and expertise

is only technical. Instead, select someone who has the skills, relationship and imagination to map

out the learning & knowledge requirements for LMS functionality.

 Don’t sign an order before a “full trial access”: Any system considered for purchase should be

tested rigorously, technically, functionally, and from a holistic integration, stakeholder and enduser

point of view. This is possible only with a so-called ‘full trial access’, where you the customer

are given access to a fully functional trial version of the product. Most vendors will allow you such

access, for a pre-defined period or with some other time-bound element. Such a trial period

needs be used to test the system systematically and rigorously. Naturally you won’t be able to

trial each and every potential aspect but it will give bring you a whole lot closer to a realistic view

on the tools potential and match to your requirements, and will serve to compare tools to each

other.

 Do not leave the planning & thinking to the vendor: often organizations assume that that the

vendor will take care of every possible need or eventuality. Certainly the vendor should be

experienced enough with the product to answer important questions honestly and critically, but

not all vendors have the in-depth experience or the interest to help you maximize the success if

your LMS decision. They also do not know the unique ins and outs of your business and

processes. So the task of scoping and describing your requirements as detailed as possible, to IT Peace of Mind

identify the required customizations, work-arounds or LMS limitations is by and

large up to you, the customer. Ideally this task must be completed before the vendor gets

involved, so that the two parties can have some healthy conversations about your requirements

and about the capability of the software. By being prepared and by sharing your well-defined

requirements this way you will maximize the opportunity for making the vendor a more capable

and supportive partner in this undertaking.

What you SHOULD do

There are a few critical actions an organization must take and questions to answer before choosing the

right LMS.

 Take stock of your current & future needs: What are the managerial and leadership goals for the

Learning Management System? How many employees will use, benefit or be affected by the

system, now and in the future? To what extent will trainings and classes be conducted online or

in a classroom format?

 Research both the system AND the vendor first: What is the vendor’s reputation? Are they

successful with offering this and other systems? Are the willing and experienced to customize

your system and in what ways? Can the vendor estimate how long it will take to build the system,

make it available to users and go live with it? How easy is the data transfer to the system? And

don’t forget to walk through the ‘standard user experience’ with guidance from the vendor.

In the next edition of this whitepaper we will look at the significant benefits that a well-chosen and

professionally implemented LMS can deliver to your business.

About SoftControl

Founded in Bangkok in 1993 by a team of German and Thai entrepreneurs, SoftControl has

helped global companies in Thailand and worldwide focus on growing their business for more

than two decades.

Over this period, we have delivered ITC services and solutions, including responsive websites in

more than 20 countries, to more than 200+ local and international customers including small

and medium size companies as well as enterprise level businesses across different industries. For

many of our long list of satisfied customers we continue to be a preferred IT consultant and

provide ongoing IT support and strategic advice.

SoftControl’s success and continuity as an IT partner of choice arises from always placing your

business interests firmly at the centre of the innovative solutions and services we offer. Our

know-how and expertise as an IT partner is aimed single-mindedly at giving customers the

freedom to get on with business – a vision which we call IT Peace of Mind.

Read more about SoftControl Learning Management Solution (LMS) here:

http://www.softcontrol.net/hr-and-lms/lms-and-knowledge-management-system.

For ICT business solution in Thailand: call us +66 2 105-4068 or send email to

อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน .

แก้ไขล่าสุด ใน วันศุกร์ที่ 09 มกราคม 2015 เวลา 11:12 น.
 

ชีวิตที่พอเพียง ๒๓๘๕. แก่แบบหด กับแก่แบบยืด

พิมพ์ PDF

ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ศ. นพ. อวย เกตุสิงห์ บรรยายเรื่อง แก่อย่างสง่า ที่ศิริราช เป็นที่ฮือฮากันมาก แม้ในหมู่พวกผมที่ยังเป็นอาจารย์วัยเอ๊าะๆ ยังไม่เคยคิดว่าสักวันตัวเองก็จะเป็นคนแก่เหมือนกัน

บทความนี้อยู่ในเว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถาน ที่นี่

ตอนนี้ผมอยู่ในวัยพอๆ กับอาจารย์หมออวยในตอนนั้น จึงขอตั้งข้อสังเกตเรื่อง "แก่สองแบบ" คือ "แบบหด" กับ 'แบบยืด" สิ่งที่หดหรือยืดคือเรื่องที่สนใจ หรือเรื่องที่ยึดถือเป็นสาระในชีวิต ไม่เกี่ยวกับอวัยวะใดๆ ของร่างกาย ที่ไม่ใช่แค่หด แต่ถึงกับ "เหี่ยว" เอาทีเดียว

นอกจากไม่เหี่ยวแล้ว จิตใจของคนแก่ยังสามารถสดใสลุกโพลงอยู่ด้วยความหวัง หากเอาจิตใจพุ่งไปที่เรื่องราวสำคัญๆ ของชุมชน/สังคม/บ้านเมือง

นี้คือเคล็ดลับ "แก่แบบยืด" คือยืดความสนใจ ความเอาใจใส่มุ่งมั่น ให้ขยายออกจากตนเอง หรือรอบๆ ตัว ให้ออกไปสู่ผลประโยชน์ของบ้านเมือง

ในกรณีของผม ผมก็เอาใจใส่ศึกษาเพื่อการนี้ เกิดความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นมากมาย รวมทั้งช่วยให้ตนเองทันสมัย ในเรื่องนั้นๆ ด้วย ยิ่งเอาประสบการณ์อันยาวนานของคนแก่ใส่เข้าไปเพื่อตีความในความหมายใหม่ๆ ยิ่ง "สนุกเป็นบ้า"

เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการ "แก่อย่างสนุก" เสริม "แก่อย่างสง่า" ของท่านอาจารย์หมออวย

เสริมเกร็ดการอบรมน้องใหม่ของศิริราช ในปี ๒๕๐๕ ตอนผมโดนอบรมน้องใหม่ ๗ ชั่วโมง non-stop พี่ปี ๔ คนหนึ่งสั่งสอนว่า ต้องเคารพอาจารย์ ห้ามเอาชื่อหรืออะไรๆ ของอาจารย์มาล้อเล่น และห้ามเรียกอาจารย์หมออวยว่า "ครูอวย" เด็ดขาด เรียกชื่ออาจารย์คนอื่นด้วยคำนำหน้านามว่าครูได้ แต่ห้ามใช้กับชื่ออาจารย์หมออวย

เสริมอีกเกร็ดครับ เป็นประเพณีที่ยึดถือกันมาว่าแพทย์จะถือรุ่นพี่เป็น "อาจารย์" เราจะไม่เรียกแพทย์ที่อาวุโสกว่าว่า "หมออวย" "หมอสุด" เพราะนั่นเป็นการเรียกแพทย์ที่อาวุโสเท่ากันหรือต่ำกว่า กับแพทย์ที่อาวุโสกว่า เราเรียกด้วยคำนำหน้านาม ว่า อาจารย์ทุกคน เช่นอาจารย์หมอสงคราม ไม่เคยสอนผมเลย แต่ผมและหมอรุ่นน้องของท่านเรียกอาจารย์ทุกคน

คำว่า "คุณหมอ" เป็นคำที่หมอจะไม่ใช้เรียกหมอที่อาวุโสกว่า ตรงกันข้าม เป็นคำที่หมออาวุโสใช้เรียกหมอที่เด็กกว่า และอาจารย์และรุ่นพี่ จะเรียกพวกเราตั้งแต่เข้าเรียนแพทย์ปี ๑ ว่า "คุณหมอ" โก้เป็นบ้า



วิจารณ์ พานิช

๒๘ ก.พ. ๕๘


บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย 

 

แก้ไขล่าสุด ใน วันศุกร์ที่ 10 เมษายน 2015 เวลา 23:14 น.
 

Prof. Vicharn Panich ผู้ติดตาม 724 ติดตาม 0 ติดต่อ เขียน สมุด บันทึก อนุทิน แลกเปลี่ยน ความเห็น ดอกไม้ วิธีพัฒนาความริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อความสำเร็จในชีวิต

พิมพ์ PDF

บทความในนิตยสาร Scientific American Mind ฉบับเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ เรื่อง How to Cultivate Creativity. Research shows that being open to new experiences spurs innovation in the arts, sciences and life. เขียนโดย Scott Barry Kaufman (Scientific Director, Imagination Institute, Positive Psychology Center, University of Pennsylvania) และ Carolyn Gregoire น่าอ่านมาก อ่านได้ ที่นี่


นี่คือวิธีการสร้างคุณภาพของพลเมือง ... ฝึกให้มีท่าทีเปิดรับประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ ... ทำตัวเป็นแก้วที่พร่องน้ำอยู่เสมอ และฝึกวิธีคิดใหม่ๆ อยู่เสมอ ฝึกโดยประสบการณ์ เรียนรู้จากประสบการณ์


ครูที่ดีที่สุดคือประสบการณ์


ใน ๕ บุคลิกใหญ่ (big five personality traits) ซึ่งได้แก่ (๑) เปิดรับประสบการณ์ (opennesss to experience) (๒) มีคุณธรรม (conscientious) (๓) เข้าคนง่าย (extraversion) (๔) ไม่ขัดใจคน (agreeableness) และ (๕) อารมณ์แปรปรวน (neuroticism) บุคลิกเปิดรับประสบการณ์คือพื้นฐานสำคัญที่สุดต่อความสร้างสรรค์ และผมเติมว่า สำคัญที่สุดต่อการเรียนรู้


ผลงานวิจัยเพื่อปริญญาเอกของ Kaufman บอกว่า บุคลิกเปิดรับประสบการณ์มี พื้นฐานสำคัญอย่างน้อย ๓ ประการในด้านพันธะ (engagement) คือ (๑) พันธะเชิงปัญญา (intellectual engagement) (๒) พันธะทางจิตใจ (affective engagement) และ (๓) พันธะด้านสุนทรียะ (aesthetic engagement) และทางอารมณ์ ข้อค้นพบสำคัญของงานวิจัยคือ บุคลิกแบบนี้มีผลต่อความสำเร็จในชีวิตมากกว่าความฉลาดหรือไอคิว


ผู้เขียนสรุปประเด็นสำคัญ ๓ อย่างคือ (๑) บุคลิกเปิดรับประสบการณ์เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดต่อ ความสร้างสรรค์ทางศิลปะและวิทยาศาสตร์ (๒) คนที่มีระดับ โดปามีนสูง มีแรงขับดันสูงต่อการค้นคว้า หาความรู้ และมีความเสี่ยงสูงต่อโรคจิต (๓) ประสบการณ์ใหม่ๆ อาจเปลี่ยนมุมมอง และเกิดการก้าวกระโดด ด้านการสร้างสรรค์


ผมสรุปต่อว่า บุคลิกนี้มีผลต่อการเกิด การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ได้ง่าย


เมื่อ ๓๘ ปีมาแล้ว ผมอ่านหนังสือ Creative Malady ชี้ให้เห็นว่าผู้ยิ่งใหญ่ของโลกจำนวนมากในด้าน ความริเริ่มสร้างสรรค์ ตั้งแต่ Charles Darwin, Sigmund Freud, Florence Nightingale เป็นต้น เป็นคนที่มีบุคลิก ของคนเป็นโรคจิตอยู่ด้วย หนังสือ How to Cultivate Creativity นี้รวบรวมหลักฐานจากงานวิจัย ชี้ว่าตัวการ ของความสร้างสรรค์ และโรคจิตมาจาก ฮอร์โมน โดปามีน


มีผลงานวิจัย บอกว่าในสมองส่วน thalamus ของคนที่มีความริเริ่มสร้างสรรค์สูง และของคนเป็นโรค จิตเภทมีจำนวน receptor ต่อโดปามีน ชนิด D2 น้อยกว่าคนปกติ เขาอธิบายว่าเมื่อโดปามีนถูกจับไปน้อย จึงเหลืออยู่มากและออกฤทธิ์กระตุ้นให้มีจินตนาการ มีอารมณ์ และมีความเพ้อฝันสูง และอธิบายว่าการมี D2 receptor น้อยอาจทำให้มีการกรองผัสสะจากภายนอกออกไปน้อย ทำให้สมองมีการประมวลข้อมูลปริมาณมาก


เขาสรุปว่า ความริเริ่มสร้างสรรค์อาจเกี่ยวข้องกับการสร้างความเชื่อมโยง (connection) ใหม่ๆ


บทความนี้เป็นเรื่องย่อจากหนังสือ Wired to Create: Unraveling the Mysteries of the Creative Mind เขียนโดยผู้เขียนบทความทั้งสอง


ขอขอบคุณ รศ. ดร. สมโภชน์ ศรีโกสามาตร ที่กรุณาแนะนำบทความนี้


วิจารณ์ พานิช

๒๐ ต.ค. ๕๙


 คัดลอกจาก: https://www.gotoknow.org/posts/618571

แก้ไขล่าสุด ใน วันอังคารที่ 15 พฤศจิกายน 2016 เวลา 16:52 น.
 

สมเด๋็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ พระราชทานราชสังคหวัตถุ

พิมพ์ PDF

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐
อนุสรณ์คำนึงถึง พระราชบิดา
จึ่งพระราชทานราชสังคหวัตถุ 
แก่ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้สูงอายุ ฝ่ายหน้าและฝ่ายใน
เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวา

เลขาธิการพระราชวัง รับพระราชโองการเหนือเกล้าฯ 
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 
ทรงพระราชอนุสรณ์คำนึงถึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 13 ต.ค. 2559 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้บำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน เนื่องในวันคล้ายวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระบรมราชชนก โดยในวันที่ 5 ธ.ค.2559 เวลา 17.00น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร จะเสด็จพระราชดำเนินมานมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร กับพระพุทธรูปสำคัญ พร้อมทั้งพระราชทานราชสังคหวัตถุแก่ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้สูงอายุ ฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง และพระราชทานสถาปนาเลื่อนและแต่งตั้งสมณศักดิ์พระเถรานุเถระ 159 รูป ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ผู้เข้ารวมพระราชพิธีแต่งกายเต็มยศ ไว้ทุกข์ สายสะพายจุลจอมเกล้า หรือสายสะพายสูงสุด และในวันที่ 6 ธ.ค.2559 เวลา 10.30 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร จะเสด็จพระราชดำเนินมาบูชาพระสยามเทวาธิราช ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ และถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ์ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย

สำหรับการพระราชทานราชสังคหวัตถุ เป็นราชประเพณีที่มีแต่ครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราวที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษา เมื่อ พ.ศ.2407 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คนชราพิการคนสูงอายุทั้งชายและหญิง เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานราชสังคหวัตถุ อันประกอบด้วยเงิน 1 ตำลึง และผ้า 1 สำรับ เนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่อๆ มาจึงได้ทรงถือเป็นธรรมเนียมสืบมา โดยในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสังคหวัตถุเป็นเงิน 10 ตำลึง และผ้า 1 สำรับ แก่ข้าราชการฝ่ายหน้าฝ่ายในเป็นประจำทุกปี ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนแปลงธรรมเนียมการพระราชทานราชสังคหวัตถุ กล่าวคือ โปรดเกล้าฯ พระราชทานเป็นเงินเพียงอย่างเดียว ส่วนผ้า 1 สำรับที่เคยพระราชทานคู่กันมาแต่เดิมโปรดให้งด 
ครั้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานราชสังคหวัตถุข้าราชบริพารฝ่ายหน้าและฝ่ายในที่อายุมากกว่า เนื่องในการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาเป็นประจำทุกปี จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระชนพรรษาสูงขึ้น จึงมีการกำหนดอายุข้าราชบริพารฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ผู้มีสิทธิเข้ารับพระราชทานราชสังคหวัตถุ เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป

คัดลอกจากเฟสบุ๊ค คุณพิชาญ พงษ์พิทักษ์

แก้ไขล่าสุด ใน วันอาทิตย์ที่ 04 ธันวาคม 2016 เวลา 13:49 น.
 

โครงการพัฒนาผู้บริหาร ระดับผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายและเทียบเท่า รุ่นที่ 11 (ช่วงที่ 4: ระหว่างวันที่ 29–30 เมษายน 2558 )

พิมพ์ PDF

สวัสดีครับชาว Blog และลูกศิษย์ EADP รุ่น 11 ทุกท่าน 

ขอต้อนรับเข้าสู่ช่วงที่ 4 ของหลักสูตรพัฒนาสมรรถนะผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รุ่นที่ 11 (ปี 2558) หรือ EGAT ASSISTANT DIRECTOR DEVELOPMENT PROGRAM: EADP 2015 ระหว่างวันที่ 29–30 เมษายน 2558

แม้ว่าจะเป็นการทำงานต่อเนื่องเรื่องคนให้กับ กฟผ. มาปีนี้เป็นปีที่ 11 แต่ผมก็ยังรู้สึกตื่นเต้น และพยายามจะแสวงหาความรู้ที่สด และทันสมัยมาแบ่งปันกับลูกศิษย์ของผมเสมอ

จากการพัฒนาผู้นำและผู้บริหารของ กฟผ. ในระดับผู้อำนวยการ 3 รุ่น และในระดับผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายอีก 7 รุ่นที่ผ่านมา ผมมีความภาคภูมิใจในลูกศิษย์ของผมที่วันนี้หลายคนเติบโต และเป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพของสังคม

"ทุนมนุษย์" ใน กฟผ. นั้นเข้มแข็งและมีศักยภาพอยู่แล้ว ผมเป็นเพียงผู้ที่จะช่วยทำหน้าที่จุดประกาย สร้าง Inspiration ให้พวกเขามีพลัง มี Ideas ใหม่ ๆ มีความเข้าใจสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกและพยายามเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ไปสู่ความสำเร็จ รวมทั้งการทิ้งผลงานหรือสิ่งที่มีคุณค่าไว้สำหรับสังคมไทยของเรา

สิ่งที่ผมและคน "กฟผ." ต้องระลึกถึงเสมอ คือ ผู้นำของเรา ต้องขอขอบคุณ ท่านผู้ว่าการ กฟผ. และอดีตผู้ว่าการฯ ทุกท่าน น่าชื่นชมที่มีปรัชญาและความเชื่อว่า "คนเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่ามากที่สุดขององค์กร" สูตรสำเร็จของการพัฒนาทุนมนุษย์ในองค์กรในยุคนี้ คือ ผู้นำหรือ CEO+SMART HR+ Non-HR และผมเชื่อว่าการพัฒนาผู้นำรุ่นใหม่ใน กฟผ. อย่างต่อเนื่องจะเป็นพลังในการขับเคลื่อนให้ กฟผ. เติบโตอย่างยั่งยืนได้แน่นอน

สำหรับการพัฒนาสมรรถนะผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 11 ในปีนี้ ผมก็หวังว่าจะมีสิ่งที่เราจะได้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อประโยชน์ในการทำงานของ กฟผ. และเป็นการสร้างที่สร้างความสุขให้แก่คนไทยต่อไป และผมขอให้ทุกท่านใช้ Blog นี้เป็นคลังความรู้ของพวกเรา และแบ่งปันความรู้เหล่านี้ไปสู่สังคมของเราครับ

จีระ หงส์ลดารมภ์

บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย 

 

แก้ไขล่าสุด ใน วันพุธที่ 29 เมษายน 2015 เวลา 19:19 น.
 


หน้า 553 จาก 558
Home

About Us

ศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ (ศบม.) เป็นองค์กรที่พัฒนาและจัดทำโครงการเพื่อทำประโยชน์ให้สังคม เป็นองค์กรสนับสนุนการดำเนินงานของภาครัฐ ช่วยแก้ปัญหาผู้ประกอบการภาคธุรกิจบริการที่ขาดแคลนบุคลากรที่มีมาตรฐานในการให้บริการ
อ่านเพิ่มเติม

มูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ ์

 iHDC Profile
บัญชีรายชื่อกรรมการ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ
เอกสารประชาสัมพันธ์ โครงการ HMTC.pdf
เอกสารแนะนำโครงการ HMTC 1.pdf
เอกสารโครงการ HMTC 2 คุณสมบัติผู้เข้าร่วมโครงการ.pdf
iHDC นิติบุคคล.pdf
iHDC บุคคล.pdf
iHDC บุคคลเครือข่าย.pdf
รายงานการประชุม 6 มีนาคม 2560.pdf
ข้อบังคับมูลนิธิ
ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ
Ihdc-Profile and Roadmap 2016-2019 Mar 23 2560.pdf
รายงานการประชุมใหญ่คณะกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ 2559.pdf
คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาขาวิชาชีพ.pdf
รายงานการประชุมใหญ่วันที่ 18 ธ ค 2558 v 3.pdf
รายงานการประชุม วันที่ 24 ธันวาคม 2557 updated 4 มีนาคม 2558.pdf
iHDC-invitation Letter.doc
iHDC-Member Form Thai.doc
iHDC-Member Form English.doc
รายงานการประชุมกรรมการมูลนิธิศูนย์บูรณาการพัฒนามนุษย์ วันที่ 15 มกราคม 2556 ฉบับสมบูรณ์


thaibetter
พัฒนาประเทศไทยแบบทวีคูณ และยั่งยืน ( ททค )

Login


แบบสำรวจ

สถิติเว็บไซด์

สมาชิก : 5612
Content : 3052
เว็บลิงก์ : 26
จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 8639395

facebook

Twitter


บทความเก่า